top of page

อังสะ คือผ้าที่ภิกษุสามเณรสวมเฉวียงบ่า เรียกว่า ผ้าอังสะ

 

อังสะ เป็นผ้าที่มีลักษณะเหมือนสไบเฉียงของผู้หญิง คือมีบ่าด้านเดียว

เย็บติดกันด้านหนึ่ง อีกด้านหนึ่งติดกระดุมบ้าง ติดสายสำหรับผูกให้กระชับในเวลาสวมบ้าง

ติดกระเป๋าไว้ด้านหน้าบ้าง ด้านที่เย็บติดกันบ้าง เวลาใช้ สวมปืดบ่าซ้าย เปิดบ่าขวา

 

อังสะ มีคติเหมือนเสื้อกล้ามหรือเสื้อชั้นใน ใช้สวมใส่ขณะอยู่ตามลำพังหรือทำงานเพื่อไม่ให้ดูเปลือยกายท่อนบน สมัยพุทธกาลไม่ปรากฏว่ามีการใช้ผ้าอังสะ แม้ในประเทศไทย พระสงฆ์สมัยเก่าก็ไม่นิยมสวมอังสะ คงถือคติแบบชายไทยสมัยโบราณที่ไม่นิยมสวมเสื้อเวลาอยู่ตามลำพัง

 

อังสะ มิใช่บริขารของภิกษุ สามเณรแต่เดิม เป็นของภิกษุณี สามเณรี และสิกขมานาเนื่องจากเป็นสตรีจึงต้องมีเสื้อหรืออังสะใส่เพื่อปกปิดถันเอาไว้ และยังมีผ้าพันถัน รวมถึงผ้านิสีทนะผ้า3ชาย (ที่มักอธิบายกันว่าเป็นผ้าปูนั่งหรือสันถัต) นุ่งเช่นเดียวกับผ้าเตี่ยว (เหมือนกางเกงใน) เมื่อมีประจำเดือนจะใช้ห่อผ้าซับเลือด (ดุจผ้าอนามัยสมัยนี้)

อังสะ

ที่ปรึกษา
จุดประสงค์

 

1.เพื่อเป็นการศึกษาความเป็นมาของจีวร

2.เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์สถานที่

    ย่านป้อมปราการ

3.เพื่อการอนุรักษ์ วัฒนธรรม ต้นแบบดั้งเดิม

จัดทำโดย

 

-นักศึกษา วิชาการศึกษารายบุคคล

(Individual Study)

-สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

รองศาสตราจารย์ว่าที่ร้อยโท พิชัย สดภิบาลชาวบ้าน ชุมชนวังกรมสมมตอมรพันธ์

ขอบคุณ ป้าเก่ง (วิทยากร)

ชาวบ้าน ชุมชน บ้านบาตร

 

bottom of page